เศรษฐศาสตร์การจัดการมลพิษและของเสีย
ผศ.ดร.นภสม สินเพิ่มสุขสกุล
ปัจจุบันปัญหามลพิษและของเสียทวีความรุนแรงมากชึ้นเรื่อยๆ ในการแก้ปัญหานิสิตมีความจำเป็นต้องทราบกรอบแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม เพื่อนิสิตสามารถประเมินและออกแบบเครื่องมือการแก้ปัญหามลพิษตามหลักการทางเศรษฐศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อพัฒนาทักษะและระดับการรู้เท่าทันของแนวทางการแก้ปัญหามลพิษและของเสีย
2. เพื่อเตรียมความพร้อมต่อการพัฒนาแนวทางการแก้ปัญหามลพิษและของเสีย
โครงสร้างเนื้อหา
บทที่ 1: บทนำ
1.1 ความหมายของคอนเซปต์ที่เกี่ยวข้อง
1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบเศรษฐกิจกับสิ่งแวดล้อม
1.3 Commodity output of agriculture
1.4 Non-commodity output of agriculture
1.5 เหตุผลที่ต้องศึกษามลพิษภาคเกษตร และบทบาทของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
1.6 Multifunctionality of agriculture
บทที่ 2: ตลาดและประสิทธิภาพ
2.1 ประสิทธิภาพพาเรโต
2.2 องค์ประกอบของประสิทธิภาพพาเรโต
2.3 กลไกตลาดทำให้เกิดประสิทธิภาพพาเรโตได้อย่างไร
บทที่ 3: ภาษีสิ่งแวดล้อม
3.1 องค์ประกอบมลพิษและผลกระทบภายนอก
3.2 ภาษีพิกู
3.3 Pricing and standard approach
3.4 ประสิทธิภาพของ PSA
3.5 ภาระภาษี
บทที่ 4: มาตรการสั่งการและควบคุม
4.1 ปัญหาของการสั่งการ
4.2 ปัญหาของการควบคุม
4.3 ประสิทธิภาพของการสั่งการและควบคุม
บทที่ 5: กฎหมายความรับผิดชอบทางสิ่งแวดล้อม
บทที่ 6: การซื้อขายใบอนุญาตปล่อยมลพิษ
6.1 เหตุผลที่ภาครัฐต้องแทรกแซงกลไกตลาดเพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน
6.2 แนวทางการแก้ปัญหาโลกร้อนโดยภาครัฐ
6.3 โครงสร้างตลาดการซื้อขายใบอนุญาตปล่อยมลพิษ
6.4 ผลกระทบการประมูลใบอนุญาตต่อระดับการปล่อยมลพิษ
6.5 ผลกระทบของการแจกใบอนุญาตต่อระดับการปล่อยมลพิษ
6.6 การซื้อขายใบอนุญาตปล่อยมลพิษ-สรุป
บทที่ 7: Soft instrument of environmental policy
7.1 ข้อมูลสิ่งแวดล้อม
7.2 บรรทัดฐานทางสังคม
7.3 Altruism
ผศ.ดร.นภสม สินเพิ่มสุขสกุล
ประกอบด้วย
ประกอบด้วย