การเขียนบรรณานุกรม รูปแบบ APA 7th
นางสาวไพลิน จิตเจริญสมุทร, นางสุภัทรา นวชินกุล, นางสาวภควดี ปุริโต, นายณัฐวุฒิ นันทปรีชา
การเขียนบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA 7th เป็นมาตรฐานสำหรับการเขียนบรรณานุกรมในทางวิชาการ ช่วยให้ผู้เขียนสามารถระบุชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ ข้อมูลการตีพิมพ์ และแสดงแหล่งข้อมูลที่ใช้ในงานวิจัย ซึ่งทำให้ผู้อ่านสามารถติดตามและสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้
คำอธิบายรายวิชา
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม APA 7
2. องค์ประกอบที่จำเป็นในการเขียนบรรณานุกรม APA 7
3. การเขียนบรรณานุกรม APA 7 สำหรับแหล่งข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร เว็บไซต์ วิทยานิพนธ์
4. โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม APA 7
2. ผู้เรียนสามารถเขียนบรรณานุกรม APA 7 สำหรับแหล่งข้อมูลประเภทต่างๆ ได้
3. ผู้เรียนสามารถเขียนบรรณานุกรม APA 7 ทั้งในเนื้อหาและท้ายเล่มได้
โครงสร้างเนื้อหารายวิชา
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม APA 7
1.1 การพิมพ์เครื่องหมายวรรคตอน
1.2 การใช้อักษรย่อในการพิมพ์บรรณานุกรม
1.3 ประเภทและรูปแบบวิธีการเขียนอ้างอิง
1.4 หลักเกณฑ์การลงรายการชื่อผู้แต่ง
บทที่ 2 การเขียนอ้างอิงในเนื้อหา
2.1 การเขียนอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา (In-Text Citation)
2.2 การเขียนอ้างอิงแบบเชิงอรรถ (Footnote Citation)
บทที่ 3 การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมท้ายเล่ม
3.1 หลักเกณฑ์การลงรายการชื่อผู้แต่ง
3.2 ตัวอย่างการลงรายการบรรณานุกรมของสื่อประเภทต่างๆ
3.3 การเรียงรายการบรรณานุกรม
3.4 การเปลี่ยนแปลงของ APA 7th Edition
บทที่ 4 โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม
4.1 การติดตั้งโปรแกรม EndNote
4.2 วิธีนำเข้าบรรณานุกรมด้วยโปรแกรม EndNote
4.3 สร้างรายการบรรณานุกรมด้วยโปรแกรม EndNote
4.4 สร้างรายการบรรณานุกรมจาก Menu ของ Microsoft word
นางสาวไพลิน จิตเจริญสมุทร
นางสุภัทรา นวชินกุล
นางสาวภควดี ปุริโต
นายณัฐวุฒิ นันทปรีชา
ประกอบด้วย
ประกอบด้วย