kumooc020
อาหารเพื่อสุขภาพและความยั่งยืน

ดร.วนิดา เทวารุทธิ์ ชิติสรรค์กุล, ดร.ประมวล ทรายทอง, ดร.พิศมัย ศรีชาเยช, นายณัฐวุฒิ ลายน้ำเงิน, ดร.นภัสสร เพียสุระ, ดร.เขมพัษ ตรีสุวรรณ, นางสาวกัษมาพร ปัญต๊ะบุตร, นางสาวสาวิณี กฤตผล, นางศิรินรัตน์ ศรีกุลนาถ, ดร.จุฑามาศ กลิ่นโซดา

5.0
(2)

ปัจจุบันประชากรโลกประสบปัญหาสุขภาพเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะโรคเรื้อรังชนิดไม่ติดต่อ ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคกลุ่มดังกล่าว ดังนั้น “อาหารเพื่อสุขภาพ” จึงเป็นทางเลือกที่สำคัญในการลดปัญหาสุขภาพของประชากรโลก

คำอธิบายรายวิชา

           รายวิชา “อาหารเพื่อสุขภาพและความยั่งยืน” จะอธิบายถึง นิยามอาหารเพื่อสุขภาพและความมั่นคงทางด้านอาหาร อาหารสุขภาพเพื่อการควบคุมน้ำหนักและการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) การรับมือกับปัญหาภาวะทุพโภชนาการด้วยระบบอาหารที่ยั่งยืน และPhenolic จากธรรมชาติสู่อาหารเพื่อสุขภาพ รวมถึงการเรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับ การควบคุมคุณภาพของผลิตผลสด การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจากส่วนเหลือทิ้งทางการเกษตร กระบวนการทำให้แห้งกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
          กระบวนการแปรรูปเนื้อสัตว์และการบริโภคที่ปลอดภัย นอกจากนี้ยังมีบทเรียนเกี่ยวกับการแสดงฉลากสารก่อภูมิแพ้ในอาหารเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภูมิแพ้อาหาร และโอกาสและแนวทางการประกอบธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาวะ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อการมีสุขภาพที่ดีและมีความยั่งยืน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
          1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพและความยั่งยืน
          2. ผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

โครงสร้างเนื้อหา

แนะนำวิชา

               แนะนำวิชาและบทเรียนออนไลน์
               แนะนำกิจกรรมและเกณฑ์การผ่านรายวิชา

บทที่ 1:  อาหารเพื่อสุขภาพและความมั่นคงทางด้านอาหาร
              1.1 นิยามอาหารเพื่อสุขภาพและความมั่นคงทางด้านอาหาร
              1.2  สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารในปัจจุบัน

บทที่ 2: อาหารสุขภาพเพื่อการควบคุมน้ำหนักและการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
            2.1 อาหารสุขภาพเพื่อการควบคุมน้ำหนัก
            2.2 การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
            2.3 ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) 

บทที่ 3: การรับมือกับปัญหาภาวะทุพโภชนาการด้วยระบบอาหารที่ยั่งยืน
            3.1 นิยาม ความหมายของภาวะทุพโภชนาการแต่ละรูปแบบ
            3.2 สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการในปัจจุบัน
            3.3 ความสำคัญของระบบอาหารยั่งยืนต่อการป้องกันปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
            3.4 ตัวอย่างประเด็นที่ควรคำนึงในการเปลี่ยนแปลงระบบอาหารในมิติด้านอาหาร โภชนาการ และความยั่งยืน

บทที่ 4: Phenolic จากธรรมชาติสู่อาหารเพื่อสุขภาพ
            4.1 สาร Phenolic คืออะไร
            4.2 แหล่งของสาร Phenolic
            4.3 ความสำคัญของ Phenolic
            4.4 สาร Phenolic ในอาหารและประโยชน์ต่อสุขภาพ

บทที่ 5: การควบคุมคุณภาพของผลิตผลสดด้วยบรรจุภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความยั่งยืน
            5.1 บทบาทของบรรจุภัณฑ์อาหาร
            5.2 การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลิตผลสด
            5.3 วิธีการการควบคุมคุณภาพของผลิตผลสดด้วยเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์

สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1

บทที่ 6: การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจากส่วนเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงทางด้านอาหาร
            6.1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจากส่วนเหลือทิ้งทางการเกษตร
            6.2 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
            6.3 ประโยชน์ของการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจากส่วนเหลือทิ้งทางการเกษตรต่อความมั่นคงทางด้านอาหาร

บทที่ 7: กระบวนการทำให้แห้งกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
            7.1 กระบวนการทำแห้ง
            7.2 เครื่องมือ เครื่องจักรในกระบวนการทำแห้ง
            7.3 ตัวอย่างอาหารเพื่อสุขภาพจากกระบวนการทำแห้ง     

บทที่ 8: กระบวนการแปรรูปเนื้อสัตว์และการบริโภคที่ปลอดภัย
            8.1 กระบวนการแปรรูปเนื้อสัตว์
            8.2 ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แปรรูป
            8.3 สารพิษที่เกิดจากกระบวนการแปรรูปเนื้อสัตว์
            8.4 ความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์

บทที่ 9: การแสดงฉลากสารก่อภูมิแพ้ในอาหารเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภูมิแพ้อาหาร
            9.1 โรคภูมิแพ้อาหาร
            9.2 สารก่อภูมิแพ้ในอาหาร
            9.3 การแสดงฉลากสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร

บทที่ 10: โอกาสและแนวทางการประกอบธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาวะ
           10.1 นิยาม ธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาวะ
           10.2 แนวทางการประกอบธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาวะ
          10.3 การรับรองและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับร้านอาหารเพื่อสุขภาวะ

Final Exam: วัดผลประมวลความรู้

3 หัวข้อหลัก

ดร.วนิดา เทวารุทธิ์ ชิติสรรค์กุล

ดร.ประมวล ทรายทอง

ดร.พิศมัย ศรีชาเยช

นายณัฐวุฒิ ลายน้ำเงิน

ดร.นภัสสร เพียสุระ

ดร.เขมพัษ ตรีสุวรรณ

นางสาวกัษมาพร ปัญต๊ะบุตร

นางสาวสาวิณี กฤตผล

นางศิรินรัตน์ ศรีกุลนาถ

ดร.จุฑามาศ กลิ่นโซดา

5.0

คะแนนหลักสูตร
100%
0%
0%
0%
0%
Loading...
กำลังโหลด...

ประกอบด้วย

3 ชั่วโมง วิดีโอการเรียน
10 หัวข้อ
2 แบบทดสอบ
วุฒิบัตร
ฟรี

ประกอบด้วย

3 ชั่วโมง วิดีโอการเรียน
10 หัวข้อ
2 แบบทดสอบ
วุฒิบัตร

ยอดรวมสินค้า
ส่วนลด
ยอดรวมหลังหักส่วนลด
ราคาไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
รวมทั้งสิ้น

ช่องทางการชำระเงิน
วิธีการชำระเงิน
สถานะ
เลขอ้างอิง
ชำระเงินเมื่อ
Loading...