คำและประโยคในภาษาไทย
ผศ.ดร.ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์
ภาษาไทยเป็นเครื่องมือที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารและถ่ายทอดความคิดความรู้สึกและความรู้ซึ่งภาษาไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแสดงถึงความเป็นไทยการใช้ภาษาไทยเป็นทักษะที่ควรฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. นิสิตสามารถวิเคราะห์ระบบไวยากรณ์ไทยในแต่ละแนวคิดได้
2. :นิสิตสามารถอธิบายความแตกต่างของแนวคิดแต่ละแนวคิดที่ใช้วิเคราะห์ระบบไวยากรณ์ไทยได้
โครงสร้างเนื้อหารายวิชา
บทที่ 1: บทนำ
บทที่ 2: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับไวยกรณ์และไวยากรณ์ไทย:
2.1 ประเภททางไวยากรณ์
2.2 การจำแนกหน่วยทางไวยากรณ์
2.3 การวิเคราะห์หน่วยคำ
บทที่ 3 : การศึกษาภาษาไทยตามทฤษฎีไวยากรณ์ดั้งเดิม
3.1 การประสมคำ
3.2 คำซ้อน คำประสมตามพระยาอุปกิตศิลปสาร คำสมาส
3.3 ชนิดของคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา
3.4 ชนิดของคำวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน คำอุทาน
3.5 วากยสัมพันธ์: วลี เอกรรถประโยค อเนกรรถประโยค สังกรประโยค
3.6 แบบฝึกหัด
3.7 ประโยคระคน
บทที่ 4: การศึกษาภาษาไทยตามทฤษฎีไวยากรณ์โครงสร้าง: ที่มา หน่วยคำ การประสมคำ
4.1 การจำแนกหมวดคำ
4.2 ระบบประโยคภาษาไทยตามไวยากรณ์โครงสร้าง
4.3 ชนิดของประโยคตามเกณฑ์โครงสร้างและประโยคสามัญ
4.4 ประโยคผสมประโยคซับซ้อนประโยคเชื่อม
4.5 ชนิดของวลี
4.6 อนุพากย์
ผศ.ดร.ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์
ประกอบด้วย
ประกอบด้วย