ภาษามือเบื้องต้น
อาจารย์อุไร ธงศรี
ภาษามือเป็นสื่อกลางสำคัญสำหรับการสื่อสารกับผู้ที่มีปัญหาทางการได้ยินหรือผู้พิการทางการได้ยิน ซึ่งช่วยให้สามารถเข้าใจและโต้ตอบกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้ทราบถึงชีวิตพฤติกรรม/วัฒนธรรม ของผู้พิการทางการได้ยินและสื่อความหมาย
2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการใช้ภาษามือไทย
3. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสะกดคำ คำศัพท์ภาษามือไทย
4. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษามือในการสื่อสารกับผู้พิการทางการได้ยินฯ
5. เพื่อนำความรู้เกี่ยวกับภาษามือไปประยุกต์ใช้กับการอยู่ร่วมกับผู้พิการทางการได้ยินฯ
โครงสร้างเนื้อหารายวิชา
บทที่ 1: แนะนำรายวิชา หลักสูตรภาษามือเบื้องต้น
บทที่ 2: หมวดตัวเลข
บทที่ 3: หมวดภาษาอังกฤษ
บทที่ 4: การสระกดนิ้วมือภาษาไทย
บทที่ 5: คำทักทาย เพศ บุคคล
บทที่ 6: วัน เดือน ปี
บทที่ 7: ช่วงเวลา
บทที่ 8: ยานพาหนะ
บทที่ 9: สถานที่
บทที่ 10: คำตรงกันข้าม
บทที่ 11: เครื่องแต่งกาย
บทที่ 12: หมวดคำกริยา
บทที่ 13: หมวดสี
บทที่ 14: หมวดรสชาติ
บทที่ 15: หมวดกีฬา
บทที่ 16: หมวดคำที่ใช้ประจำ
บทที่ 17: หมวดอุปกรณ์ของใช้ในบ้าน
บทที่ 18: องค์ประกอบภาษามือไทย
บทที่ 19: การตั้งชื่อภาษามือ
บทที่ 20: ประโยคที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน
บทที่ 21: ศูนย์บริการถ่ายทอดการสื่อสารแห่งประเทศไทย (TTRS)
อาจารย์อุไร ธงศรี
ประกอบด้วย
ประกอบด้วย